วันพฤหัสบดีที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

Paris, je t’aime


ชื่ออังกฤษ : Paris, je t’aime
ชื่อไทย : ปารีส เชอ’แตม : มหานครแห่ง “รัก”
นักแสดงนำ : นาตาลี พอร์ทแมน , อีไลจาห์ วู้ด , นิค โนลเต้ , กัสปาร์ด อุลลิเอร์ ,จูเลียต บินอช , และสตีฟ บุชเซมี่
เรื่องย่อ
การชุมนุมผู้กำกับนานาชาติกว่า 20 ชีวิต ร่วมด้วยช่วยกันถ่ายทอดมุมมองหรือความประทับใจที่พวกเขามีต่อ Paris มหานครแห่งความรัก ผ่านภาพยนตร์ความยาว 5 นาทีจำนวน 18 เรื่อง เรียงร้อยคอยคั่นด้วยเสียงเพลงประกอบภาพบรรยากาศของกรุง Paris ในยามต่างๆ กัน สู่ย่านต่าง ๆของนครปารีส ผลที่ได้คือตัวหนังที่เปี่ยมเสน่ห์ในตอนต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ความรักของสาวอเมริกันกับหนุ่มตาบอด แม่ผู้สุญเสียกับลูกชายอันเป็นที่รัก นักแสดงสาวกับคนขายยาแปลกหน้า สามีผู้สลัดกิ๊กสาวสวยวัยเอาะเพื่อมาดูแลภรรยาที่ป่วยเป็นมะเร็งในระยะสุดท้ายและพบว่าตัวเองกำลังตกหลุมรักภรรยาตัวเองอีกครั้ง หรือแม้แต่ความรักของแวมไพร์สาวกับนักท่องเที่ยวหนุ่ม ที่ยอมพลีกายตัวเองเพื่อความรัก ทั้งหมดนี้ถูกเรียงร้อยเพื่อถ่ายทอดถึงความรักเพียง 1 เดียวที่พวกเขามีต่อ Paris มหานครแห่งรัก ความรักบทใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยบอกกล่าวกันมา ในมหานครปารีส ช่างมีความรักอยู่ทั่วไปทุกซอกทุกมุม ไม่ว่าจะเป็นตามบาร์หรือร้านกาแฟ จะใต้หอไอเฟล หรือในรถไฟใต้ดิน ที่แล่นลัดเลาะไปใต้ท้องถนน คุณเตรียมตัวเที่ยวชม เมืองหลวงแห่งดินแดนน้ำหอม ในรูปแบบที่ไม่เคยคาดคิดมาก่อนผ่านภาพยนตร์เรื่อง Paris, je t’aime ที่จะเปิดโอกาสให้คุณได้สัมผัสมหานครปารีสผ่านมุมมองของนักสร้างภาพยนตร์ชื่อดังของโลกมากมาย อาทิ สองพี่น้องตระกูลโคเอ็น, กัส แวน แซงท์, วอลเตอร์ แซลเลส, อิสซาเบล คอยเซ่, อเล็กซานเดอร์ เพย์น, และซิลเวน โคเม็ท ผู้กำกับภาพยนตร์แต่ละท่านได้รับเชิญให้มาถ่ายทอดเรื่องราวที่เกิดขึ้นตามย่านต่าง ๆ ของเมือง ผลที่ได้คือภาพยนตร์สะท้อนเรื่องราวสนุกสนาน, การแบ่งแยกแตกต่าง, การเผชิญหน้าที่คาดไม่ถึง, และเหนือสิ่งอื่นใดก็คือ ความรัก ที่ถ่ายทอดผ่านตัวละครมากหน้าหลายตาที่แสดงโดยดาราดังระดับโลก อาทิ นาตาลี พอร์ทแมน, อีไลจาห์ วู้ด, นิค โนลเต้, แฟนนี่ อาร์แดนท์,จูเลียต บินอช, และสตีฟ บุชเซมี่ ภาพยนตร์เรื่อง Paris, je t’aime จะเสนอภาพของมหานครปารีสที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน และน่าจะทำให้คุณหลงรักมหานครที่โรแมนติคที่สุดในโลกมากขึ้นอีกนิด คลาวดี้ ออสสาร์ด และเอ็มมานูเอล เบ็นบิฮี ภูมิใจเสนอภาพยนตร์เรื่อง Paris, je t’aime ที่กำกับโดยโอลิเวียร์ แอซสาแยส, กูรินเดอร์ แชดด้า, เฟร็ดเดอริค อูเบอร์แต็ง กับเจอราร์ด เดอพาดิเย, ซิลเวน โคเม็ท, โจเอล กับอีธาน โคเอ็น, เวส คราเว่น, อัลฟอนโซ่ คัวรอน, ริชาร์ด เลอกราเวเนส, อิสซาเบล คอยเซ่, คริสโตเฟอร์ ดอยล์, อเล็กซานเดอร์ เพย์น, วินเซ็นโซ่ นาตาลี, วอลเตอร์ แซลเลส กับแดเนียล่า โธมัส, โอลิเวอร์ ชมิทซ์, บรูโน่ โพดาลีเดส, ทอม ไทเควอร์, โนบูชิโร่ ซูว่า, และ กัส แวน แซงท์ ‘หนังเรื่องนี้แสดงให้เห็นถึงมหานครปารีสด้านที่ไม่ธรรมดา ด้านที่ไม่ค่อยจะเคยเห็นกัน ฉันว่าสำหรับคนที่ไม่ได้อยู่ปารีสแล้วย่านโฟบูร์แซ็งต์เดอนี ก็ไม่ใช่สถานที่ท่องเที่ยวขึ้นชื่ออะไร แทบจะไม่เคยมีใครมาเที่ยวด้วยซ้ำไป มันเป็นย่านที่อยู่อาศัย แต่ก็เป็นสถานที่ถ่ายทำที่น่าตื่นเต้น ก็มันเป็นย่านที่คนที่นี่เขาใช้ชีวิตอยู่กันทุกวี่ทุกวันไง’

เพลงฝรั่งเศส

Elle, tu l'aimes
Hélène SEGARA
Elle tu l'aimes si fort si fort
Au point, je sais que tu serais perdu sans elle
Elle tu l'aimes autant je crois que j'ai besoin de toi
Moi j'enferme ma vie dans ton silence
Elle tu l'aimes c'est toute la différence
Elle tu l'aimes au point sûrement
D'avoir au cœur un incendie qui s'éternise
Elle tu l'aimes et moi sans toi en plein soleil j'ai froid
Plus ma peine grandit en ton absence
Plus tu l'aimes c'est toute la différence
Elle tu l'aimes si fort si fort
Au point, je sais que tu pourrais mourir pour elle
Elle tu l'aimes si fort, et moi je n'aime toujours que toi
คำอ่านแอล ตู แลม
แอล ตู แลม ซิ ฟอร์ต ซิ ฟอร์ตโอ ปวง เชอ
เซ เกอะ ตู เซอเคร่ แปร์คดู ซอง แซลแอล ตู แอม โอตอง
เชอ ครัว เกอะ เช เบอซวง เดอ ตัว
มัว ชองแฟร์คม์ มา วี ดอง ตง วิลองซ์แอล ตู
แอม เซ ตูต์ ลา ดิฟเฟครองซ์
แอล ตู แลม โอ ปวง ซูค์มองดาวัว โอ เกรอ เอิง แนงซองดี
กี เซแตร์นีส์แอล ตู แอม เอ มัว ซอง ตัว
ออง แปรน โซเลย เช ฟรัว
ปูส์ มา แปรน กรองดี ออง ตง นับซองปูส์
ตู แลม เซ ตูต์ ลา ดิฟเฟครองซ์
แอล ตู แลม ซิ ฟอร์ต ซิ ฟอร์ตโอ ปวง เชอ เซ เกอะ
ตู ปูร์เคร่ มูร์ครี ปู แอลแอล ตู แลม ซิ ฟอร์ต เอ มัว เชอ แนม ตูชูร์ เกอะ ตัว
คำแปล
คำศัพท์
autant = มาก
V. emfermer = ขังไว้
le incendie = ไฟไหม้
V. éterniser = ตลอดไป, นิรันดร
la peine = ความทุกข์
V. grandire = เจริญเติบโต (พืช)

Persepolis

Persepolis เป็นเรื่องราวของ Marjance Satrapi ในการใช้ชีวิตช่วงเด็กในอิหร่าน และเติบโตในต่างประเทศ (ปัจจุบันเธอเป็นนักเขียนอยู่ในฝรั่งเศส)จุดเด่นสำคัญของตัวเนื้อเรื่อง หาได้อยู่กับชีวประวัติของ Satrapi ไม่ หากแต่ คือ ประวัติศาสตร์ของอิหร่าน และประเด็นด้านการเมือง สงคราม สังคม และวัฒนธรรม ที่ทำให้เข้าใจความเป็นไปของประเทศที่หลายคนมองว่า เป็นประเทศหัวรุนแรงประเทศหนึ่งได้ดีขึ้น
เวลากลับบ้านทีไร มักจะมีคนถามว่า คนอเมริกันเป็นอย่างไร ผมก็มักจะตอบว่า ก็เหมือนคนไทย ถามต่อว่าเหมือนยังไง ก็เหมือนกันตรงที่ ไม่สามารถเหมารวมได้ว่า คนอเมริกันทั้งหมดเป็นอย่างไร เพราะคนเหมือนคน แต่คนไม่เหมือนกัน หนัง (และหนังสือ) ของ Satrapi นี้ก็เห็นจะเป็นเช่นกัน ที่ชี้ให้เห็นว่า คนอิหร่านทุกคน ก็ไม่จำเป็นต้องมีภาพลักษณ์เป็นพวกหัวรุนแรง น่ากลัว เพียงเพราะการที่มีพวกหัวรุนแรงเคลื่อนไหว ทำตัวเป็น PR ของประเทศ
ถึงแม้เรื่องของอิหร่าน ดูเหมือนจะเป็นเรื่องไกลตัว แต่ประเด็นที่สอดแทรกอยู่ในหนัง ไม่ว่าจะเรื่องการเมือง สังคม และวัฒนธรรมนั้น เข้าเนื้อเข้าหนัง คนไทยอย่างเรามาก มีฉากที่คุ้น ๆ มีประเด็นปัญหาที่เหมือนที่เมืองไทยพูดถึงกัน
ภาพรวมของหนัง ค่อนข้างชอบ ถึงแม้หลัก ๆ จะเป็นหนังการ์ตูนขาว-ดำ เพื่อแสดงว่าเป็นการเล่าเรื่องในอดีต แต่ลายเส้นที่หนาและไม่รกตา (เทียบกับ version ที่เป็นหนังสือ ลายเส้นของการ์ตูนในหนัง ดู polished มากกว่า แต่ก็ไม่เสียความเป็นอัตลักษณ์ของ Satrapi ไป) transition ดูเรียบง่าย แต่ให้ความหมายได้ดี
[เพิ่มเติม:
ข้อมูลบน imdb, หนังสือบน Amazon (Satrapi ยังมี graphic novel ในรูปแบบวรรณกรรมเยาวชนที่น่าสนใจ อีกมาก น่าติดตามอ่านทีเดียว)]
This article is about the animated movie. For other uses, see Persepolis (disambiguation).
Persepolis is a
2007 animated film based on Marjane Satrapi's autobiographical graphic novel of the same name. The film was written and directed by Satrapi with Vincent Paronnaud. The story follows a young girl as she comes of age against the backdrop of the Iranian Revolution. The story ends with Marjane as a 21-year-old expatriate. The title is a reference to the historic city of Persepolis.
The film won the
Jury Prize at the 2007 Cannes Film Festival[1] and was released in France and Belgium on June 27. In her acceptance speech, Satrapi said "Although this film is universal, I wish to dedicate the prize to all Iranians."[2] The film was also nominated for the Academy Award for Best Animated Feature.
The film was released in the
United States on December 25, 2007 and in the United Kingdom on April 24, 2008.